เบอร์มงคล : Sim.in.th หน้าแรก :: ซิมเบอร์สวย :: ความน่าเชื่อถือ :: วิธีสั่งซื้อเบอร์สวยและรับสินค้า :: ติดต่อเรา Bookmark and Share

 

-

  ค้นหาเลขที่ชอบ   ค้นหาเบอร์สวยอย่างเจาะจง      วิธีค้นหาเบอร์สวย ค้นหาเบอร์สวย
ศูนย์รวมซิม เบอร์สวย เบอร์ดี เบอร์มงคล ซิมเบอร์มงคล เบอร์สวยเลือกได้ www.Sim.in.th ยินดีต้อนรับ ศูนย์รวม เบอร์มงคล เบอร์สวย ทุกเครือข่าย ทุกระบบ
  • ร้านเบอร์มีตัวซิมการ์ดน่ารักไว้คุยกันขำๆ
  • ซื้อเบอร์มงคล เบอร์สวย จ่ายเงินผ่านบัตรเครดิต
  • เบอร์มงคล เบอร์สวยเลขศาสตร์ เบอร์มงคล
  • เบอร์มงคล เบอร์สวยคู่รัก
  • ต้องการขายเบอร์มงคล เบอร์สวย ฝากขายเบอร์มงคล เบอร์สวย

เบอร์มงคล เบอร์สวยเลือกได้

| วิธีค้นหาเบอร์สวย
| ดูเบอร์สวยทั้งหมด
| เบอร์สวยที่แนะนำ
| เบอร์พัน
| เบอร์ตอง
| เบอร์โฟร์
| เบอร์ไฟว์
| เบอร์เลข 2 คู่
| เบอร์เลข 3 คู่
| เบอร์เลข 4 คู่
| เบอร์เรียง 4 ตัวหลัง
| เบอร์เรียง 5 ตัวหลัง
| เบอร์สวยหายาก
| เบอร์เลขศาสตร์ (ไม่มี 0 3 7 8 11 12 21)
| เบอร์เลขมงคล (มีแต่ 2 4 5 6 9)
| เลขศาสตร์เบอร์มงคล (มีแต่ 4 5 6 9)
| เบอร์เลขศาสตร์จีน (มีแต่ 1 6 8)
| เบอร์รับทรัพย์ (มีแต่ 7 8 9)
| เบอร์สวยคู่รัก
| เบอร์สวยชุดธุรกิจ และองค์กร
| เบอร์สวยหมวดต่างๆ
» จำนวนเบอร์สวยทั้งหมด 36,339 เบอร์

ซื้อเบอร์มงคล เบอร์สวย เลือกเบอร์ที่ต้องการ ง่ายนิดเดียว

สั่งซื้อเบอร์สวย เพียง 4 ขั้นตอน

1. ติดต่อสอบถามเช็คเบอร์ที่ต้องการซื้อ
2. โอนเงินจอง หรือสั่งซื้อ และแจ้งการโอนเงิน
3. นัดหมาย หรือแจ้งชื่อที่อยู่ในการส่ง EMS
4. รอรับสินค้าตามวันเวลาที่กำหนด

เบอร์สวย เลขศาสตร์ เบอร์มงคล

ซื้อเบอร์มงคล เบอร์สวยกับเรามั่นใจได้ 100%

บัญชีธนาคารเปิดใช้งานมากว่า 10 ปี ไม่เคยโกง
ยินดีคืนเงินเมื่อซิมมีปัญหาจากการชำรุด
ชำระค่าสินค้าผ่านบัตรเครดิตได้ ผ่อนจ่ายได้
ส่งแบบ EMS และ Kerry ตรวจสอบได้
ไม่เงินคืนหากลูกค้าเปลี่ยนใจ หรือยกเลิก
ไม่เงินคืนหากไม่ลงทะเบียนซิมภายใน 7 วัน

 รายละเอียดความน่าเชื่อถือของผู้ขาย ซื้อเบอร์สวย

ติดต่อซื้อขายเบอร์สวย

Tel. / SMS: 086-888-8686
Line ID: woodykrub
อีเมล์: ContactWebSim@gmail.com
Facebook: FB.com/bersuaysimmongkol
FAQ: คำถามและคำตอบที่พบบ่อยๆ
Track: ตรวจสอบการส่ง EMS

บทความที่น่าสนใจ

| ดูดวงเบอร์โทรศัพท์ เสริมดวงความรัก
| หลายแง่มุมของ Numerology
| dtac ยกระดับมาตรการเปลี่ยนซิมเข้ม หลังเทรนเบอร์สวยพิมพ์นิยมมาแรง แนะจดทะเบียนเบอร์ไว้ไม่ให้ถูกขโมย
| ประมูลเบอร์
| วิธีการตั้งเบอร์โทรศัพท์ของ Skype เพื่อให้ลูกค้าสามารถโทรหาคุณบน Skype
| จรรยาบรรณหมอดู!!!
| รหัสเลขอันตราย
| เลขเฮงเลขดีในภาษาจีน
| ซิม Freedom 3G UNLIMITED NETSIM
| ความหมายเลขศาสตร์ (สรุป)
| กสทช. ไฟเขียวเบอร์มือถือขึ้นต้นด้วย 06 รองรับอีก 50 ล้านเบอร์
| เลข 5 ในเบอร์มือถือ
| เบอร์มงคล,เลขศาสตร์
| เลือกเบอร์มือถือที่ดีอย่างไร
| หลักการดูเบอร์สวย
| นิสัยของตัวเลข
| AIS 003 บริการโทรไปต่างประเทศ ราคาประหยัด
| ความหมายของเลขคู่ลำดับ
| ความหมายของเลขคู่ลำดับ
| วิธีเช็คที่อยู่ของแฟนด้วยเบอร์มือถือ
| เบอร์มงคลดี ๆ โดย อ.ช้าง
| LINE เปิดตัว Official Account TH-EN Translator ช่วยแปลไทยเป็นอังกฤษขณะแชท
| สุดยอดวิธีการประสบความสำเร็จ
| ซิมแบบเติมเงินไม่มีวันหมดอายุ
| เลขมงคลประจำวันเกิด
| นาโนซิม ( Nano Sim ) คืออะไร
| ซิมปาท่องโก๋ นาทีละ 2 สตางค์
| ทำไมต้องใช้เบอร์สวย
| เปลี่ยนเครือข่ายแต่ใช้เบอร์เดิมได้แล้ว
| 180 วันอันตราย! โดนยึดเบอร์?
| ลำดับขั้นตอนการเปลี่ยนเครือข่ายใช้เบอร์เดิม
| ความหมายของตัวเลข และเบอร์โทร
| ถอดรหัสเลขรวย 168
| มหัสจรรย์เบอร์คู่รักแท้
| วิธีเลือกเบอร์สวย เบอร์จำง่าย เบอร์มงคล
| ซิม 2499 แฮปปี้ทั่วเมือง
| ซิม 15 หยก ๆ 16 หย่อน ๆ
| ซิมม่วนซื่นทั้งปี
| ซิมแฮปปี้นาทีละ 40 สต.
| ซิมเปิ้ล
| ซิมคงกระพัน
| บริการ Welcome Home
| บทสรุปการใช้งาน iPhone5
| รู้จัก Android (แอนดรอยด์)
| บริการข้ามแดนอัตโนมัติ (IR) จาก วัน-ทู-คอล!
| แพ็กเสริม voice และ SaveSave By Dtac
| สำนักงานบริการลูกค้า ของ AIS ในกรุงเทพฯ
| บริการทางลัด ของ DTAC
| สำนักงานบริการลูกค้า ของ Happy Dtac
| รวมหมายเลขบริการทรูมูฟ
| สำนักงานบริการลูกค้า ของ TRUEMOVE
| ความหมายของเลขมงคลต่างแหล่งต่างๆ
| เลขมงคล ของจีน ไว้ประดับความรู้
| เบอร์สวย ที่ใช้ในคาสิโนออนไลน์
| อาชีพต่างๆ ในประเทศไทย
| เลขมงคลประจำราศีเกิด
| เลขมงคลประจำวันเกิด
| ทำนายเลขบัตรประจำตัวประชาชน
| เลขนำโชค ประจำวันเกิด ช่วยเลือกเบอร์สวย
| หลักการเลือกเบอร์โทรศัพท์ตามวันเกิด
| หลักการเลือกหมายเลขโทรศัพท์มือถือ
| เลขที่ร้ายแรงที่สุดสำหรับอุบัติเหตุ และการผ่าตัด
| ทายนิสัยจากเบอร์โทรศัพท์มือถือ
| เลขเบอร์มือถือสำหรับนักเสี่ยงโชค
| เบอร์มือถือ บอกอะไร ตามเลขพยากรณ์
| กลุ่มเลข "ผิวป่วย"
| กฎ 30 ข้อ เปลี่ยนตัวเองเป็นคนใหม่ใน 1 เดือน
| ชีวิตลิขิตด้วยตัวเลข
| เบอร์มือถือ ถูกโฉลก
| เรื่องมหัศจรรย์ ของหมายเลขโทรศัพท์
| เลขมหัศจรรย์ เหมาะกับอาชีพ
| งานสัมมนา "มหัศจรรย์พลังตัวเลข"
| จำนวนดอกกุหลาบเผยความนัย
| วิธีคำนวณ หาเนื้อคู่
| ตัวเลขกับความฝัน
| เวลาเกิดบอกตัวตน
| ทายรักจากเบอร์มือถือ
| ทำนายดวง ตามราศีในศาสตร์อินเดีย
| เลขที่บ้านเสริมดวง
| เลข 7 เลขที่บ้าน และทะเบียนรถ
| ตั้งรหัสบัตร ATM ให้เงินเข้า
| รหัสนิ้วมือทำนายดวง
| ความเชื่อตัวเลขกับความเชื่อของชาวญี่ปุ่น
| ว่าด้วย 10 ความเชื่อของชาวรัสเซีย
| ตัวเลขที่มีความหมายเป็นสิริมงคลและอัปมงคล
| ชีวิตจะดีขึ้นทันทีเลยหรอ?? เมื่อเปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์มือถือ ?
| เรื่อง"ตัวเลข"ความเชื่อของคนไทย
| ความเชื่อเรื่องตัวเลข
| มหัศจรรย์ตัวเลข แฝงไว้...กับความเชื่อ
| ทำนายอิทธิพล เลขวันเกิด โดย " ริว จิตสัมผัส "
| ความเชื่อเรื่องตัวเลขทั่วทุกมุมโลก
| เลขนำโชค ประจำวันเกิด
| ศาสตร์แห่งตัวเลข กับการเลือกเลขทะเบียนรถมงคล
| ความหมายของ เลขศาสตร์ เลข14
| ความหมายของเลขในแต่ละประเทศ
| ว่าด้วยเรื่องของตัวเลข ที่มีผลต่อดวงชะตา
| ความหมายของตัวเลข และดาว 9 ยุค
| หมายเลขโทรศัพท์มือถือเป็นเหมือนดั่งกระจกสะท้อน
| ความหมายของแต่ละคู่เลข
| เลขคู่มงคลที่ให้ความหมายที่ดี ส่งเสริมผู้ใช้
| คลังบทความเบอร์สวย
| คลังบทความเบอร์มงคล
| รวมบทความทั้งหมด

 

 

 

ที่มาหยิน-หยาง
สารานุกรมวิกิพีเดียให้ข้อมูลดังนี้ ยุคโบราณราว 557 ปีก่อนพุทธศักราช ..... 
"จักรพรรดิฟูฉี" เป็นผู้ให้กำเนิดปรัชญาจีนไว้ในคัมภีร์ "อี้จิง" (ซึ่งแปลว่าความเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ จีนยกย่องว่าเป็นแผนที่นำทางให้กับมนุษย์ทั้งด้านการดำเนินชีวิต การตัดสินใจ และการใช้ชีวิตอย่างมีความสุขกว่าที่เป็น) ปรัชญาของพระองค์มีรากฐานมาจากการผสมเส้นตรง กล่าวคือ เส้นตรงเดี่ยว เรียกว่า หยาง เป็นตัวแทนเพศชาย และเป็นสัญลักษณ์แทนความแข็งแกร่ง ส่วนเส้นตรงแยกเรียกว่า หยิน เป็นตัวแทนเพศหญิง และเป็นสัญลักษณ์แทนความอ่อนโยนแปรปรวน
หยางและหยินแม้จะมีลักษณะตรงกันข้ามกัน แต่ทั้งสองก็รวมกันเป็นสิ่งที่เรียกว่า เอกภาวะ ได้ หรือประสานกลมเกลียวกันโดยอาศัยความแตกต่างนั่นเอง ขณะที่ตำราชื่อ "กวานจื้อ" บันทึกไว้ว่าหยางหยินเป็นหลักสำคัญของสวรรค์และแผ่นดิน
คติจีนเชื่อว่าสรรพสิ่งในสากลจักรวาล ล้วนมีสองด้านคือหยินและหยาง เป็นกฎแห่งความสมดุลของธรรมชาติ เป็นปรัชญาของลัทธิเต๋าที่เชื่อว่าสรรพสิ่งบนโลกใบนี้จะต้องมีสิ่งคู่กันเสมอ มีมืดก็ต้องมีสว่าง มีร้อนก็ต้องมีเย็น มีผู้หญิงก็ต้องมีผู้ชาย หากขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไป หรือมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากหรือน้อยเกินไปก็จะเกิดภาวะไม่สมดุลซึ่งจะนำหายนะมาให้
ที่สุดแล้วคือ "หยิน" เป็นตัวแทนของความมืดมิด ไม่เคลื่อนไหว อ่อนล้า เศร้าโศก ความตาย ความหนาวเย็น ผู้หญิง "หยาง" เป็นตัวแทนของความกระตือรือร้น พลังงาน แสงสว่าง ผู้ชาย การเกิด การเคลื่อนไหวที่ไม่หยุดนิ่ง หยินและหยางเป็นพลังตรงข้ามที่คู่กัน เปลี่ยนแปลงและส่งเสริมซึ่งกันและกัน พลังซึ่งคู่กันนี้หากเท่ากันจะสร้างความสมดุล เช่น บวก-ลบ ชาย-หญิง พระอาทิตย์-พระจันทร์ ร้อน-หนาว กลางวัน-กลางคืน โดยสิ่งแรกในแต่ละคู่คือหยาง อีกสิ่งคือหยิน
ต่อมาเกิดมีพัฒนาการทางปรัชญาเพิ่มเติมขึ้นมาว่าแท้จริงแล้วในท่ามกลางหยางก็มีหยิน และในท่ามกลางหยินก็มีหยาง หยินหยางเป็นปรัชญาในลัทธิเต๋าที่มีรูป "ไท่จี๋" เป็นสัญลักษณ์ คือรูปวงกลมและมีเส้นโค้งแบ่งเป็นสองส่วนขาวดำ อุปมาว่าเป็นมัจฉาคือปลาสองตัว ปลาสีขาวเป็นตัวแทนของหยาง ส่วนปลาสีดำเป็นตัวแทนของหยิน ตาของปลาสีขาวเป็นจุดดำ แต่ตาของปลาสีดำเป็นจุดขาว คือในหยางมีหยิน และในหยินมีหยาง ผสมกลมกลืน 
ว่ากันว่าความคิด ความเชื่อ และปรัชญาจีนอย่างหยางหยิน เป็นปัจจัยหลักของยุคเฟื่องฟูทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชาวจีนในสมัยราชวงศ์ซ้อง และความเจริญในช่วงนี้ได้ส่งผลต่างๆ ต่อจีนมากมาย เช่น สภาพเศรษฐกิจเฟื่องฟู สิทธิสตรีตกต่ำ เป็นต้น 
หยิน-หยาง (yin-yang) พลังซึ่งคู่กัน หากเท่ากันจึงจะสร้างความสมดุล เช่น บวก-ลบ ชาย-หญิง พระอาทิตย์-พระจันทร์ ร้อน-หนาว กลางวัน-กลางคืน เป็นต้น (สิ่งแรกในแต่ะคู่คือหยาง อีกสิ่งคือหยิน) ภาพวงกลมสีขาว - ดำ คือ สัญลักษณ์ของคู่พลัง และเป็นสัญลักษณ์ของลักธิเต๋าเช่นกัน
หยินหยาง ยังมีชื่อเรียกอีกว่า คติทวินิยม, พุท, อัว หมายถึง ธรรมชาติที่เป็นของคู่ตรงกันข้าม ,สิ่งที่เป็นของคู่ ของคู่อันพึ่งทำลาย ของคู่อันทำให้สมดุล
ธรรมชาติประกอบด้วยของคู่
หยาง คือพลังบวกมีลักษณะสีแดง เป็นพลังเพศชาย พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ความอบอุ่น สว่างไสว มั่นคง สดใส เช่น ดวงอาทิตย์ ไฟ ฯลฯ 
หยิน คือพลังลบ มีลักษณะสีดำ เป็นพลังเพศหญิง พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ความหนาวเย็น ความมืด อ่อนนุ่ม ชื้นแฉะ ลึกลับ และเปลี่ยนแปลง เช่น เงามืด น้ำ ฯลฯ 
เอกภพเกิดขึ้นโดยมีหยินและหยาง จากการปะทะกันของสองสิ่งนี้ ทุกสิ่งทุกอย่างก็อุบัติขึ้นมา ทุกสิ่งทุกอย่างมีพลังทั้งสองนี้ทั้งนั้น บางครั้งหยินอาจมีพลังแข็งแรง แต่บางครั้ง หยาง ก็มีพลังมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น ท่อนไม้ ตามปกติเป็นหยิน แต่เมื่อโยนเข้าไปในกองไฟ ก็เปลี่ยนรูปเป็นหยางไป ในชีวิตหยินและหยางก่อให้เกิดความล้มเหลวและความสำเร็จเป็นต้น เช่นเดียวกัน หยางและหยินไม่ใช่เป็นตัวแทนของความดีและความชั่ว แต่ทั้งสองนี้มีความจำเป็นต่อกฏเกณฑ์และระเบียบของเอกภพ ทั้งสองนี้ไม่ใช่อยู่ในภาวะปะทะกันตลอดเวลา แต่ยามใดมีความสามัคคีกัน ทั้งสองอย่างนี้ก็เป็นสิ่งดีด้วยกัน
ในเชิงปรั๙ญาตามลัทธิเต๋า
หยิน-หยางเป็นสัญลักษณ์ของ ลัทธิเต๋า
ลัทธิเต๋าเป็นลัทธิที่จะทำความเข้าใจได้ยาก 
เพราะการเข้าถึงลัทธินี้จะต้องมีสัมผัสพิเศษที่สามารถเข้าถึงภาวะความจริงได้ 
ผู้นิยมลัทธิเต๋าเองก็ไม่เชื่อว่าจะเป็นไปได้ที่จะเข้าใจความจริงเกี่ยวกับชีวิตและโลก
โดยการคิดและการใช้เหตุผล หรือโดยการกระทำแต่ความดี 
การแสวงหาเต๋าหรือทางนี้ อาจทำได้ด้วยการปฏิเสธ
ที่จะรับว่าตนเองเป็นผู้มีวิชาหรือผู้รอบรู้ 
และให้อยู่อย่างสงบ ใช้ชีวิตง่ายๆ กับธรรมชาติ ความรู้มิใช่เป็นของดี 
หากแต่ช่วยเสริมสร้างความชั่วให้ตามเวลามากหรือน้อยเท่าที่เรียนมา 
ดังที่ปรากฎในหนังสือที่แสดงความคิดของเล่าจื้อว่า 
ผู้ที่มีความสามารถมักจะไม่ถกเถียงกันด้วยเรื่องต่างๆ 
การทะเลาะถกเถียงกันแสดงถึงการไร้สมรรถภาพ
หยิน กับ หยาง ในความคิดของนักปรัชญาจีนเกี่ยวกับแบบแผนแห่งการหมุนวนของธรรมชาติ ได้ถูกกำหนดให้เป็นขั้วตรงข้ามกันสองขั้ว คือ หยิน (YIN) และ หยาง(YANG)เป็นขั้วซึ่งกำหนดขอบเขตของวัฏจักรแห่งการเปลี่ยนแปลง และ เชื่อว่า
เมื่อขั้วหนึ่งถึงจุดสูงสุดก็ต้องถอยให้กับอีกขั้วหนึ่ง จะเป็นเช่น
นี้เสมอไป
ในทัศนะของนักปรัชญาจีน ฝ่ายธรรมชาตินิยม สิ่งที่ปรากฏขึ้นนั้น มวลของธรรมชาติมาจากการเคลื่อนไหว หรือ เปลี่ยนแปลงของพลังของขั้วทั้งสอง คำว่า หยิน กับ หยาง ตามความหมายเดิมใช้เปรียบเทียบกับความมืด และ ความสว่าง และต่อมายังได้ใช้แทนความเป็นชาย และ หญิง ความแข็ง และ ความอ่อน ข้างบน และ ข้างล่าง เป็นต้น หยาง แทนส่วนที่มีความเข้มแข็ง ความเป็นชาย พลังจากวิญญาณ ในขณะที่ หยิน แทนความอ่อนโยน ความเป็นหญิง ความสงบนิ่ง พลังจิต สมาธิจิต หยิน คือ พลังจิตใจอันละเอียดอ่อนแบบหญิง มุ่งสู่ฌานปัญญา (Meditative) แห่งชีวิต คือ อี้ ส่วนหยาง คือ พลังหยาบของวิญญาณ มีความมุ่งมั่นอย่างชาย สู่ความเป็นหนึ่ง หรือ ความยิ่งใหญ่แห่งอำนาจ หรือแห่งชีวิต คือ ฉี้ (Respiration)
ส่วนการเคลื่อนไหวของ หยิน และ หยาง นักปรัชญาจีนได้แสดงด้วยสัญลักษณ์ทีเรียกว่า ไท่จี๋ถู (Tai Chi Tu) คือ แผนภูมิแสดงสัจธรรมอันสูงสุด แผนภูมนี้แสดงส่วนที่มืด คือ หยิน ส่วนที่สว่าง คือ หยาง และยังแสดงถึงการเคลื่อนไหวที่มีพลัง ส่วนจุดสองจุดข้างในแผนภูมิแทนความหมายที่ว่า เมื่อใดขั้วหนึ่งขั้วใดเคลื่อนถึงจุดสูงสุดก็จะต้องมีสิ่งตรงกันข้ามอยู่ด้วย นั้นคือ หยิน และ หยาง ทวิลักษณ์ (Two character)
นักปรัชญาจีน ฝ่ายธรรมชาติวิทยา ได้เฝ้าสังเกตุการณ์การเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ และได้พบว่า จากการเปลี่ยนแปลงนี้เอง ธรรมชาติได้สร้างสรรพสิ่งขึ้น และ สรรพสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นมีสองลักษณะ ซึ่งตรงกันข้ามกันเป็นทวิลักษณ์ หลักการทวิลักษณ์เป็นเรื่องของความผูกพันสิ่งที่มีลักษณะ หรือ คุณสมบัติตรงกันข้ามกันเข้าด้วยกัน เช่น กลางวัน กับ กลางคืน ทิศเหนือ กับ ทิศใต้ ความเย็น กับ ความร้อน ดำ กับ ขาว อ่อน กับ แข็ง เป็นต้น การนำหลักทวิลักษณ์มาใช้นี้ เรียกว่า หยิน หยาง
จากการให้กำเนิดสรรพสิ่งของธรรมชาตินั้น นักปรัชญาจีนมองว่า ก่อนจะเกิดสรรพสิ่งขึ้นนั้น จักรวาลเป็นความว่างเปล่าที่เรียกว่า สภาวะ อู๋จี๋ (Ou Chi) และสิ่งที่เกิดตามมาหลังความว่างเปล่ามาเป็นจักรวาลที่เต็มไปด้วยสรรพสิ่งเรียกว่า ไท่จี๋ (Tai Chi)
ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว เฮอลีชวน ก็เหมือนกับลักษณะทวิลักษณ์ หรือ หยิน และ หยาง ของสรรพสิ่งที่เกิดขึ้น เพราะในการต่อสู้ป้องกันตัวนั้น เกิดลักษณะสองลักษณะตรงกันข้ามกัน แต่มีความสัมพันธ์ผูกพันกัน คือ มีรุกมีรับ มีอ่อนมีแข็ง ใช้พลังชัดเจน และใช้พลังแฝง เป็นต้น
ฉะนั้นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว เฮอลีชวน จึงได้จัดแบ่งพลังทั้ง 7 เปรียบเทียบกับ ธาตุทั้ง 5 เป็นทวิลักษณ์ หรือ หยิน และ หยาง ดังนี้
๐ อิ้งลี่ (พลังธรรมดา Normal power)
ธาตุดิน คือ พลังหยาง
๐ เฉินลี่ (พลังโน้มถ่วง Gravity power)
ธาตุน้ำ คือ พลังหยิน
๐ ฉี้ลี่ (พลังลมปราณ Respiration power)
ธาตุไฟ คือ พลังหยาง 
๐ อี้ลี่ (พลังสมาธิจิต Mind power) 
ธาตุทอง คือ พลังหยิน 
๐ เสวียนลี่ (พลังอัตราความเร็ว Velocity power)
ธาตุลม คือ พลังหยาง
๐ไต้ลี่ (พลังเหนี่ยวนำ Inducement power)
ธาตุลม คือ พลังหยิน
๐ ถันลี่ (พลังสะท้อน Rebound power)
ธาตุไม้ คือ พลังหยิน และพลังหยาง
ข้อสังเกต จะเห็นได้ว่า ถันลี่ หรือ พลังสะท้อน ธาตุไม้ เป็นได้ทั้ง พลังหยิน และ พลังหยาง ส่วนธาตุลม หรือ อากาศธาตุ เป็นธาตุที่ได้เพิ่มเข้ามานอกเหนือจากธาตุทั้ง 5 ในศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว เฮอลีชวน นั้น ธาตุลม หรือ อากาศธาตุมีความสำคัญไม่น้อย เพราะเป็นธาตุที่เข้าได้กับทุกธาตุ และ ช่วยเสริมให้กับทุกธาตุ และยังเป็นได้ทั้ง พลังหยิน และ พลังหยางเหมือนกับธาตุไม้อีกด้วย

จากภาพแผนภูมิ เส้นแบ่งครึ่งจาก ถันลี่ พลังสะท้อน ธาตุไม้ลงมา ด้านขวามือเป็น หยาง ส่วนด้านซ้ายมือเป็น หยิน ช่องว่างในวงกลมและรูปดาวเป็นอากาศธาตุ หรือ ธาตุลม ซึ่งแบ่งเป็น หยิน และหยางเช่นกัน คือ ลมด้าน หยิน เป็นลมพลังเย็น ไต้ลี่ หรือ พลังเหนี่ยวนำ ลมด้าน หยาง เป็นลมพลังร้อน เสวียนลี่ หรือ พลังอัตราความเร็ว
ฉี้ลี่ พลังลมปราณ ธาตุไฟ เป็นพลังหยางที่แฝงด้วยความเร่าร้อน รุนแรง โหดเหี้ยม หากขาดการควบคุมจาก อี้ลี่ พลังสมาธิจิตแล้ว ก็คือ พลังที่บ้าคลั่งขาดสติ โหดเหี้ยมรุนแรง บ้าบิ่น เกรี้ยวกราดอย่างไร้เหตุผล
อิ้งลี่ พลังธรรมดา ธาตุดิน เป็นพลังหยาง ซึ่งเป็นพลังที่ใช้กันอยู่ปกติในชีวิตประจำวัน พลังนี้จะมากน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น สุขภาพที่ดี การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หรือ การฝึกฝนศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว เฮอลีชวน ให้ได้ท่าร่างที่ถูกต้อง (ท่าร่าง หมายถึง ท่าทางของศิลปะการต่อสู้ หรือ ท่ามวย) แม้แต่การรับประทานอาหารให้พอเหมาะพอควร เหล่านี้ล้วนแต่เป็นปัจจัยพื้นฐานของพลัง อิ้งลี่ หรือ พลังธรรมดาทั้งสิ้น พลังอิ้งลี่นี้เป็นพลังที่สำคัญที่สุดเพราะถ้าหาก พลังอิ้งลี่ไม่ดีแล้ว นั่นหมายถึง สุขภาพที่ไม่สมบูรณ์ ไม่มีพละกำลัง หรือ การฝึกฝนท่าร่างของศิลปะการต่อสู้อย่างผิดๆ พลังธาตุต่างๆก็ไม่สามารถที่จะกำเนิดขึ้นได้
เสวียนลี่ พลังอัตราความเร็ว ธาตุลม หรือ อากาศธาตุ เป็นพลังหยาง ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วต่อเนื่อง และ ฉับพลัน เกิดจากการฝึกฝนจนชำนาญกลายเป็นสัญชาติญาณ
ถันลี่ พลังสะท้อน ธาตุไม้ เป็นทั้งพลัง หยิน และ หยาง เป็นพละกำลังที่แข็งแกร่งยืดหยุ่นไม่เปราะหักง่าย เปรียบเหมือนไม้ หรือ ยางรถยนต์ ซึ่งมีพลังสะท้อนกลับ (Rebound หรือ Reflect) เกิดจากการเริ่มต้นธาตุดินที่ดี ฝึกฝนร่างกาย กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น จนเกิดความแข็งแกร่ง มีพลังยืดหยุ่นสะท้อนกลับได้ดี ประสาทกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น สามารถตอบสนองได้อย่างฉับพลัน
เฉินลี่ พลังโน้มถ่วง ธาตุน้ำ เป็นพลังหยิน เป็นพลังที่มีความหนักหน่วง หนักแน่น เปรียบเหมือนน้ำที่เทลงมาจากที่สูง พลังนี้ คือ แรงโน้มถ่วง ที่เกิดจากการฝึกฝนเสริมสร้างมวลพละกำลัง และการกำหนดสมาธิจิต โดยการมองผ่านอย่างทะลุทะลวงด้วยจิตที่มีสมาธิ เป็นการส่งแนววิถีของพลังให้ไปสู่เป้าหมายที่ซึ่งจิตได้กำหนดไว้
ไต้ลี่ พลังเหนี่ยวนำ ธาตุลม เป็นพลังหยิน เกิดจากการเกาะติดแนวแรงอย่างต่อเนื่อง และ คล้อยตามเหนี่ยวนำแนวแรงนั้นให้สู่เป้าหมายที่จิตเรากำหนด การใช้พลังใต้ลี่ให้ได้ผลนั้นจะต้องฝึกฝนให้รู้จักการสัมผัสแนวแรง หรือ วิถีของแรงอย่างต่อเนื่อง
อี้ลี่ พลังสมาธิจิต ธาตุทอง เป็นพลังหยิน เกิดจากการกำหนดจิตเพื่อรวบรวมเอาพลังอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ รวมพลังทั้งหมดดังได้กล่าวมาข้างต้น หรือใช้สมาธิจิตในการจินตนาการถึงลักษณะของแรงต่างๆ แล้วนำแรงนั้นมาใช้
จากบทความ และ ภาพแผนภูมิ ดังกล่าว บ่งบอกให้ทราบว่า ลักษณะทวิลักษณ์ หรือ หยิน และหยาง ในศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว เฮอลีชวน นั้น พลังหยิน คือ พลังที่ไม่เห็นเด่นชัด พลังหยาง คือ พลังที่เห็นเด่นชัด อีกทั้งการทำความเข้าใจ และ ฝึกฝนได้ง่ายกว่า พลังหยิน
 

 

 

ที่มา:http://berclub.blogspot.com/

เบอร์สวย เบอร์มงคล เลขศาสตร์Power by Web Design (Thailand) Company Limited. Copyright © 2009 Sim.in.th All rights reserved.
Sim-Number ร้านเบอร์สวย ร้านเบอร์มงคล